สมการบัญชี
สมการบัญชี คือ
สมการที่แสดงความสำพันธ์ระหว่างสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ(ทุน)
จะแสดงความสมดุลกันอยู่เสมอสามารถเขียนเป็นรูปสมการบัญชี ได้ดังนี้
1. กิจการที่ไม่มีหนี้สิน สมการจะเป็น ดังนี้สินทรัพย์ = ส่วนของเจ้าของ (ทุน)
2. กิจการที่มีหนี้สิน สมการจะเป็นดังนี้สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ (ทุน) Assets = Liabilities + Owners Equity
1. กิจการที่ไม่มีหนี้สิน สมการจะเป็น ดังนี้สินทรัพย์ = ส่วนของเจ้าของ (ทุน)
2. กิจการที่มีหนี้สิน สมการจะเป็นดังนี้สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ (ทุน) Assets = Liabilities + Owners Equity
ความหมายของงบดุล (งบแสดงฐานะการเงิน)
งบดุล (งบแสดงฐานะการเงิน) หมายถึง รายงานที่แสดงให้ทราบถึงฐานะทางการเงินของบุคคลหรือกิจการ ณ วันใดวันหนึ่งว่ามีสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของเป็นจำนวนเท่าใด
สินทรัพย์ที่ปรากฏในงบดุล ณ วันใดวันหนึ่งจะมีจำนวนเท่ากับผลรวมของจำนวนหนี้สิน
ทั้งหมดกับส่วนราชการ ซึ่งอาศัยหลักของสมการบัญชีดังนี้
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ
Assets = Liabilities + Owerner' Equity
A = L + OE
ดังนั้น การแสดงควาสมดุลระหว่านสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของนอกจากแสดงในรูป
แบบสมการบัญชีแล้ว สามารถนำมาจัดทำในงบดุลได้
งบดุล (งบแสดงฐานะการเงิน) หมายถึง รายงานที่แสดงให้ทราบถึงฐานะทางการเงินของบุคคลหรือกิจการ ณ วันใดวันหนึ่งว่ามีสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของเป็นจำนวนเท่าใด
สินทรัพย์ที่ปรากฏในงบดุล ณ วันใดวันหนึ่งจะมีจำนวนเท่ากับผลรวมของจำนวนหนี้สิน
ทั้งหมดกับส่วนราชการ ซึ่งอาศัยหลักของสมการบัญชีดังนี้
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ
Assets = Liabilities + Owerner' Equity
A = L + OE
ดังนั้น การแสดงควาสมดุลระหว่านสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของนอกจากแสดงในรูป
แบบสมการบัญชีแล้ว สามารถนำมาจัดทำในงบดุลได้
การจัดประเภทของรายการในงบดุล
และประเภทของงบดุล
การประเภทของรายการในงบดุล แบ่งออกได้ 3 ส่วน ได้แก่
1.สินทรัพย์ แบ่งออกเป็น สินทรัพย์หมุนเวียน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
2.หนี้สิน แบ่งออกเป็น หนี้สินหมุนเวียน และหนี้สินระยะยาว
3.ส่วนของเจ้าของ ได้แก่ ทุนใช้ถอนส่วนตัว
งบดุลแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1.งบดุลแบบบัญชี
2.งบดุลแบบรายงาน
การประเภทของรายการในงบดุล แบ่งออกได้ 3 ส่วน ได้แก่
1.สินทรัพย์ แบ่งออกเป็น สินทรัพย์หมุนเวียน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
2.หนี้สิน แบ่งออกเป็น หนี้สินหมุนเวียน และหนี้สินระยะยาว
3.ส่วนของเจ้าของ ได้แก่ ทุนใช้ถอนส่วนตัว
งบดุลแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1.งบดุลแบบบัญชี
2.งบดุลแบบรายงาน
ประเภทของสินทรัพย์
ในการจัดประเภทของสินทรัพย์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
1. สินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) หมายถึง เงินสด หรือสินทรัพย์อื่นๆ ที่มีเหตุผลจะ
คาดหมายได้ว่าจะเปลี่ยนเป็นเงินสด หรือขาย หรือใช้หมดไประหว่างรอบระยะเวลาการดำเนินงานตามปกติของกิจการ ถ้ารอบระยะเวลาการดำเนินงานตามปกติของกิจการสั้นกว่า 1 ปี ให้ถือระยะเวลา 1 ปีเป็นเกณฑ์ในการจัดประเภทสินค้าหมุนเวียน ได้แก่ เงินสด เงินฝากธนาคาร เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้ สินค้าคงเหลือ ฯลฯ
2. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ( Non Current Assets) หมายถึงสินทรัพย์ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดของสินทรัพย์หมุนเวียนให้จัดเป็นประเภท สินทรัพย์ที่ไม่หมุนเวียน ได้แก่ เงินลงทุนระยะยาว ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
3. สินทรัพย์อื่น (Other Assets Sundry Assets ) หมายถึงสินทรัพย์ที่ไม่อาจจัดเข้าเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน หรือสินทรัพย์ถาวรได้ เช่น เงินลงทุนระยะยาว ที่ดิน ที่มิได้ใช้ในการดำเนินกิจการในปัจจุบัน
ในการจัดประเภทของสินทรัพย์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
1. สินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) หมายถึง เงินสด หรือสินทรัพย์อื่นๆ ที่มีเหตุผลจะ
คาดหมายได้ว่าจะเปลี่ยนเป็นเงินสด หรือขาย หรือใช้หมดไประหว่างรอบระยะเวลาการดำเนินงานตามปกติของกิจการ ถ้ารอบระยะเวลาการดำเนินงานตามปกติของกิจการสั้นกว่า 1 ปี ให้ถือระยะเวลา 1 ปีเป็นเกณฑ์ในการจัดประเภทสินค้าหมุนเวียน ได้แก่ เงินสด เงินฝากธนาคาร เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้ สินค้าคงเหลือ ฯลฯ
2. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ( Non Current Assets) หมายถึงสินทรัพย์ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดของสินทรัพย์หมุนเวียนให้จัดเป็นประเภท สินทรัพย์ที่ไม่หมุนเวียน ได้แก่ เงินลงทุนระยะยาว ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
3. สินทรัพย์อื่น (Other Assets Sundry Assets ) หมายถึงสินทรัพย์ที่ไม่อาจจัดเข้าเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน หรือสินทรัพย์ถาวรได้ เช่น เงินลงทุนระยะยาว ที่ดิน ที่มิได้ใช้ในการดำเนินกิจการในปัจจุบัน
ประเภทของหนี้สิน
ในการจัดประเภทหนี้สิน แบ่งออกเป็น 5 ประเภท
1.หนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities) หมายถึง หนี้สินซึ่งมีระยะเวลาการชำระคืนภายใน 1 ปี หรือภายในระยะเวลารอบการดำเนินงานตามปกติของกิจการด้วยสินทรัพย์หมุนเวียน หรือด้วยการก่อหนี้สินระยะสั้นอื่นแทน
2.หนี้สินระยะยาว (Long-term Liabilities) หมายถึง หนี้สินซึ่งมีระยะเวลาการชำระคืนมากกว่า 1 ปี หรือเกินกว่ารอบระยะเวลาการดำเนินงานตามปกติของกิจการ
3.หนี้สินโดยประมาณ (Estimated Liabilities) หมายถึง หนี้สินซึ่งไม่ทราบจำนวนแน่นอนและได้ประมาณขึ้น
4. หนี้สินอันอาจเกิดขึ้น (Contingant Liabilities) หมายถึง รายการที่อาจจะเป็นพันธะผูกพันในอนาคต
5.หนี้สินอื่น ๆ (Other Liabilities) หมายถึง หนี้สินซึ่งไม่อาจจัดเข้าในหนี้สินประเภทใด ๆได้
ในการจัดประเภทหนี้สิน แบ่งออกเป็น 5 ประเภท
1.หนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities) หมายถึง หนี้สินซึ่งมีระยะเวลาการชำระคืนภายใน 1 ปี หรือภายในระยะเวลารอบการดำเนินงานตามปกติของกิจการด้วยสินทรัพย์หมุนเวียน หรือด้วยการก่อหนี้สินระยะสั้นอื่นแทน
2.หนี้สินระยะยาว (Long-term Liabilities) หมายถึง หนี้สินซึ่งมีระยะเวลาการชำระคืนมากกว่า 1 ปี หรือเกินกว่ารอบระยะเวลาการดำเนินงานตามปกติของกิจการ
3.หนี้สินโดยประมาณ (Estimated Liabilities) หมายถึง หนี้สินซึ่งไม่ทราบจำนวนแน่นอนและได้ประมาณขึ้น
4. หนี้สินอันอาจเกิดขึ้น (Contingant Liabilities) หมายถึง รายการที่อาจจะเป็นพันธะผูกพันในอนาคต
5.หนี้สินอื่น ๆ (Other Liabilities) หมายถึง หนี้สินซึ่งไม่อาจจัดเข้าในหนี้สินประเภทใด ๆได้
รับติววิชาบัญชี (Accounting) ตัวต่อตัว โดยรับติวในระดับปริญญาตรี
รูปแบบการสอน จะเน้นความเข้าใจ และการใช้เทคนิค ผสมผสานกับเนื้อหาและชีวิตประจำวัน เพื่อใช้ในการสอบ อีกทั้งยังสอนตามเนื้อหาที่ผู้เรียนสะดวก
โดยติวเตอร์ปัจจุบันเรียนจบ ป.โท สาขาการบัญชี (Master of Business Administration in Accounting) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
โดยติวเตอร์ปัจจุบันเรียนจบ ป.โท สาขาการบัญชี (Master of Business Administration in Accounting) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
รับติววิชาบัญชี (Accounting)ตัวต่อตัว (ในระดับปริญญาตรี )
- สอนแบบตัวต่อตัว (1คน)
- สอนแบบกลุ่ม (2-3คน)
- สะดวกที่ สตาร์บัค สาขาเมเจอร์รัชโยธิน
- ช่วงเวลาที่สะดวก (สามารถนัดวัน/เวลาเรียนได้)
- สอนแบบกลุ่ม (2-3คน)
- สะดวกที่ สตาร์บัค สาขาเมเจอร์รัชโยธิน
- ช่วงเวลาที่สะดวก (สามารถนัดวัน/เวลาเรียนได้)
ติวบัญชี ระดับปริญญาตรี
- บัญชีขั้นต้น 1
- บัญชีขั้นต้น 2
- บัญชีขั้นกลาง 1
- บัญชีขั้นกลาง 2
- บัญชีการเงิน
- บัญชีต้นทุน 1
- บัญชีต้นทุน 2
- บัญชีภาษีอากร
- บัญชีขั้นต้น 2
- บัญชีขั้นกลาง 1
- บัญชีขั้นกลาง 2
- บัญชีการเงิน
- บัญชีต้นทุน 1
- บัญชีต้นทุน 2
- บัญชีภาษีอากร
***เนื้อหาในแต่ละคณะ/มหาวิทยาลัย อาจแตกต่างกัน ดังนั้นสามารถแจ้งเนื้อหาติวเตอร์ล่วงหน้าก่อนการทำการสอนได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น